CAT

CAT

กิจกรรม 15 - 19 พฤศจิกายน 2553 คะแนน 200 คะแนน

ให้สืบค้นข้อมูลตั้งแต่ข้อ 1 - 20 โดยทำในคาบเรียน ข้อ 1 - 10 



ตอบ 1
คำอธิบายข้อมูล
 


ที่มาของข้อมูล :: http://www.google.co.th/imglanding?q=%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%83%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3&um=1&hl=th&sa=N&biw=1280&bih=675&tbs=isch:1&tbnid=-8IOFTZ7ZFmm9M:&imgrefurl=http://psc.pbru.ac.th/lesson/index-ecosystem.html&imgurl=http://psc.pbru.ac.th/lesson/ECOSYSTEM.files/image082.jpg&zoom=1&w=468&h=559&iact=hc&ei=LIXmTLboDeD9cKbX5JsK&oei=LIXmTLboDeD9cKbX5JsK&esq=1&page=1&tbnh=127&tbnw=107&start=0&ved=1t:429,r:7,s:0



ตอบ 2
คำอธิบายข้อมูล ::

 

ที่มาของข้อมูล :: http://www.school.net.th/library/create-web/10000/science/10000-6508.html



ตอบ 3
คำอธิบาย :: นักวิทยาศาสตร์ได้ตรวจพบรูโหว่ขนาดใหญ่ของชั้นโอโซนเหนือทวีปแอนตาร์คติก บริเวณขั้วโลกใต้ เกิดขึ้นจากกระแสลมพัดคลอรีนเข้ามาสะสมในก้อนเมฆในชั้นสตราโตสเฟียร์ ในช่วงฤดูหนาวเดือนพฤษภาคม – กันยายน (ขั้วโลกเหนือไม่มีเมฆในชั้นสตราโตสเฟียร์ เนื่องจากอุณหภูมิไม่ต่ำพอที่จะทำให้เกิดการควบแน่นของไอน้ำในอากาศ) เมื่อถึงเดือนตุลาคม ซึ่งแสงอาทิตย์กระทบเข้ากับก้อนเมฆ ทำให้คลอรีนอะตอมอิสระแยกตัวออกและทำปฏิกิริยากับก๊าซโอโซน ทำให้เกิดรูโหว่ขนาดใหญ่ของชั้นโอโซน ซึ่งเรียกว่า “รูโอโซน” (Ozone hole) ดังในภาพที่ 2 แสดงถึงความหนาแน่นของชั้นโอโซน (มีหน่วยเป็นด๊อบสัน) จะเห็นว่า ชั้นโอโซนในปี พ.ศ.2541 มีความบางกว่าเมื่อปี พ.ศ.2522







ตอบ 2
คำอธิบาย :: สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมันสร้างโปรตีนได้หมดแระ...อย่างน้อย 1 ในโปรตีนที่มีนสร้างก็คือ ดีเอ็นเอของมันนั้นเองแระครับ และอาจจะเป้น enzyme อื่นๆที่มันผลิตออกมาใช้ในการดำรงชีวิต เอาเป็นว่า สิ่งใดที่มันสร้าง ดีเอ็นเอได้ มันก็สร้างโปรตีนได้

ที่มาของข้อมูล :: http://www.vcharkarn.com/vcafe/100741



ตอบ 4



ตอบ 1
คำอธิบาย :: การที่น้ำออสโมซิสออกจากเซลล์เรียกว่า พลาสโมไลซิส
การออสโมซิสของน้ำทำให้ปริมาตรของเซลล์เปลี่ยนแปลงเนื่องจากเยื่อหุ้มเซลล์ส่วนใหญ่ยอมให้น้ำแพร่เข้าออกได้   มีผลกระทบต่อปริมาณเซลล์  ถ้าเป็นเซลล์พืชซึ่งมีผนังเซลล์ที่หนาและแข็งแรงอยู่ชั้นนอกของเยื่อหุ้มเซลล์   ผนังเซลล์เป็นตัวกำหนดปริมาตรของเซลล์   สำหรับเซลล์สัตวืไม่มีผนังเซลล์  ปริมาตรของเซลล์จะเพิ่มมากขึ้นเมื่อน้ำแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าสู่เซลล์มากขึ้น   อาจทำให้เยื่อหุ้มเซลล์ขาดและเสียหายได้ จากการศึกษาการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเซลล์เม็ดเลือดแดงโดยกระบวนการออสโมซิสพบว่า   เมื่อนำเซลล์นำเซลล์เม็ดเลือดแดงไปใส่ในสารละลายที่มีความเข้มข้นเท่ากับสารละลายภายในเซลล์เม็ดเลือดแดง   ปริมาตรของเซลล์จะไม่เปลี่ยนแปลง (ภาพที่ 4-20ก.) เรียกสารละลายภายนอกเซลล์ที่มีความเข้มข้นเท่ากับภายในเซลล์ว่า สารละลายไอโซโทนิก(isotonic solution) และเมื่อนำเม็ดเลือดแดงไปแช่ในสารละลายที่มีความเข้นข้นสูงกว่าสารละลายในเซลล์ซึ่งเรียกว่า สารละลายไฮเพอร์โทนิก(hypertonic solution) น้ำจากภายในเซลล์จะออสโมซิสออกนอกเซลล์มากกว่าเข้าไปในเซลล์  ปริมาตรของเซลล์จะลดลงเห็นได้จากเม็ดเลือดแดงที่เหี่ยว (ภาพที่ 4-20ข.)   แต่เมื่อนำเม็ดเลือดเงไปแช่ในสารละลายที่มีความเข้มข้นต่ำกว่าสารละลายภายในเซลล์ซึ่งเรียกว่ สารละลายไฮโพโทนิก(hypotonic solution) น้ำจากสารละลายภายนอกเซลละออสโมซิสเข้าไปในเซลล์มากกว่าออกมานอกเซลล์   เซลล์จะเต่งเพิ่มขึ้น (ภาพที่ 4-20ค.) ซึ่งถ้าความเข้มข้นของสารละลายภายนอกต้ำกว่าภายในเซลล์มากปริมาณน้ำที่ออสโมซิสเข้าสู่เซลล์มากจนทำให้เซลล์แตกได้

ที่มาของข้อมูล::http://km.vcharkarn.com/biology/mo4/27-2010-06-07-09-59-05


ตอบ 1
คำอธิบาย :: กระบวนการแพร่ของสาร
     พืชได้แร่ธาตุอาหารจากดินในรูปของสารละลาย ซึ่งอนุภาคของแร่ธาตุจะแพร่กระจายจากบริเวณที่มีอนุภาคจำนวนมากไปสู่บริเวณที่มีอนุภาคของแร่ธาตุน้อยกว่า ทำให้ความเข้มข้นของสารละลายเท่ากันทั่วบริเวณนั้น การเคลื่อนที่ของอนุภาคแร่ธาตุในลักษณะนี้เรียกว่า"การแพร่" สำหรับแร่ธาตุในดินจะแพร่เข้าสู่เซลล์ขนรากได้ก็ต่อเมื่อความเข้มข้นของแร่ธาตุในดินมีมากกว่าภายในเซลล์ขนราก
หลักการแพร่ของสาร
     การแพร่ของสาร (Diffusion) 
หมายถึง การเคลื่อนที่หรือการกระจายของโมเลกุลของสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารมาก (มีจำนวนโมเลกุลของสารมาก) ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารน้อย (มีจำนวนโมเลกุลของสารน้อย) โดยอาจผ่านเยื่อเลือกผ่าน หรือไม่ผ่านเยื่อเลือกผ่านก็ได้
การแพร่ของแก๊สเข้า - ออกจากราก
     
แก๊สออกซิเจน (O2) ที่อยู่ตามช่องว่างระหว่างอนุภาคดินจะแพร่เข้าสู่เซลล์ขนราก แล้วแพร่กระจายไปยังเซลล์ข้างเคียงต่อ ๆ กันไป ทั้งนี้เซลล์จะใช้แก๊สออกซิเจนในกระบวนการทางเคมีของเซลล์เพื่อสลายอาหารให้กลายเป็นพลังงาน และปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ออกมาจากเซลล์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมานี้จะแพร่ออกในทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางการแพร่ของแก๊สออกซิเจน





ตอบ 3
คำอธิบาย :: โดยปกติคนจะกลั่นปัสสาวะออกมาประมาณ 750 - 1,500 ซีซี ต่อวัน ขึ้นอยู่กับว่าคนนั้นดื่มน้ำมากน้อยแค่ไหน คนที่กินของเผ็ดหรือทอดจะกระหายน้ำมากกว่าคนปกติ หรือในฤดูหนาวอากาศเย็นน้ำปัสสาวะจะมีมากกว่าฤดูร้อนอากาศร้อนเพราะไม่เสียเหงื่อทางผิวหนัง รสของปัสสาวะจะมีรสเค็มๆ ถ้าปัสสาวะเข้มจะมีรสขมนิดๆ ในน้ำปัสสาวะมีอะไรดี มาดูกัน
ดร.ฟารอน นักชีวเคมีได้วิจัยสารต่างๆ ในปัสสาวะพบว่า 95% เป็นน้ำ 2.5 % เป็นยูเรีย อีก 2.5% เป็นสารอื่นๆ ถ้าแยกส่วนประกอบที่เป็นมิลลิกรัมออกมาในน้ำปัสสาวะ 100 ซีซี(ลูกบาศก์เซนติมเตร)จะพบว่ามี
1. เอนไซม์ ได้แก่
1.1 Amylase(diastase)
1.2 Lactic dyhydrogenate(LDH)
1.3 Leucine amino-peptdase(LAP)
1.4 Urokinase เป็นสารละลายลิ่มเลือด รักษาเส้นเลือดอุดตัน
2. ฮอร์โมน ได้แก่
2.1 Catecholamines
2.2 17-Catosteroids
2.3 Hydroxysteroids
2.4 Erytropoietine สารกระตุ้นไขกระดูกให้สร้างเม็ดเลือดแดง
2.5 Adenylate cyclase ประสานการทำงานฮอรโมนหลายชนิดในร่างกาย โดยผ่านการทำงานของสาร cyclic AMP
2.6 Prostaglandin เป็นสารประจำถิ่นในเนื้อเยื่อหลายชนิด ควบคุมการอักเสบ การรับรู้ความปวด การจับตัวของลิ่มเลือด ช่วยการทำงานของมดลูก
3. ฮอรโมนเพศ ช่วยสร้างความกระชุ่มกระชวย ผิวพรรณดี ลดรอยย่นและความหย่อนยาน สร้างสุขภาพจิตที่ดี ลดคลอเรสเตอรอลในเลือด ป้องกันกระดูกผุ
4. อินซูลิน คนที่เป็นเบาหวานจะได้อินซูลินเข้าไปช่วยเสริมสร้างการเจริญอาหาร
5. Melatonin พบในปัสสาวะตอนเช้า สารนี้ช่วยให้จิตใจสงบ ลดความกระวนกระวาย หลับสบาย


ตอบ 1
คำอธิบาย :: ปลามีการขับถ่ายของเสียที่เป็นน้ำและสารไอออนอนินทรีย์ออกทางปัสสาวะ โดยอาศัยการทำงานของไต นอกจากนี้ยังอาศัยเหงือก ผิวหนัง เยื่อบุภายในช่องปาก และทางเดินอาหาร ช่วยขับถ่ายของเสียพวกไนโตรเจน (nitrogenous waste และ ammonia) ด้วย




ตอบ 3
คำอธิบาย ::  Contractile vacuole ออร์แกแนลที่มีลักษณะเป็นถุง พบในโพรโทซัวน้ำจืดหลายชนิดเช่น อะมีบา พารามีเซียม ทำหน้าที่ขับถ่ายน้ำที่มากเกินความต้องการ และของเสียที่ละลายน้ำออกจากเซลล์และควบคุมสมดุลน้ำภายในเซลล์ให้พอเหมาะด้วย

ที่มาของข้อมูล :: http://www.vcharkarn.com/vcafe/29815


 ตอบ 2
คำอธิบาย ::  เมื่อร่างกายได้รับความร้อนจากสิ่งแวดล้อม  จนทำให้อุณหภูมิที่ผิวหนังกับอุณหภูมิของเลือดสูงกว่าปกติศูนย์ควบคุมอุณหภูมิของร่างกายที่สมองส่วนไฮโพทาลามัสจะกระตุ้นให้เกอดกระบวนการต่างๆ  เพื่อปรับอุณหภูมิของร่างกายให้กลับเป็นปกติ  มีการลดอัตราเมแทบอลิซึมลดความการเผาผลาญอาหารในเซลล์ตับและเซลล์ไขมันหลอดเลือกฝอยบริเวณผิวหนังจะขยายตัว   เพื่อช่วยถ่ายเทความร้อนในร่างการสู่สิ่งแวดล้อม  มีการกระตุ้นการทำงานของต่อมเหงื่อให้ขับเหงื่อเพิ่มขึ้นกล้ามเนื้อที่ยึดโคนเส้นขนในผิวหนังจะคลายตัว  เราจึงเห็นขนเอนราบติดผิวหนัง  ช่วยให้อากาศไหลเวียนบริเวณผิวหนังได้ดีขึ้นความร้อนจึงถ่ายเทสู่สิ่งแวดบ้องได้มากขึ้น


ที่มาของข้อมูล :: http://km.vcharkarn.com/other/mo6/48-2010-06-30-08-15-30



ตอบ  3
คำอธิบาย :: พ.ญ.สิริพร กัญชนะ ประธานศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย กล่าวถึงข้อดีของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ว่า จะส่งผลให้เด็กไทยมีสุขภาพที่ดีเมื่อเติบโตขึ้น นมแม่จะช่วยลดความเสี่ยงลดโอกาสของการเกิด 3 โรคร้าย ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง และโรคอ้วนได้ ซึ่งจะลดโอกาสการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเส้นโลหิตอุดตันเมื่อสูงวัย

ที่มาของข้อมูล :: http://www.thaihealth.or.th/node/5514



ตอบ 2
คำอธิบายข้อมูล :: วัคซีนเริ่มมีการพัฒนาในราวคริสตทศวรรษที่ 1770 โดยเอ็ดวาร์ด เจนเนอร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ประสบความสำเร็จในการสกัดเชื้อ cowpox เพื่อป้องกันโรคฝีดาษ (small pox) ในมนุษย์ได้ วันซีนในระยะเริ่มแรกเป็นการนำเชื้อมาทำให้ตายหรือการใช้เชื้อที่อ่อนฤทธิ์เท่านั้น จนกระทั่งปัจจุบันมีการพัฒนาโดยนำเทคโนโลยีรีคอมบีแนนต์มาช่วยในการพัฒนาโดยอาศัยความรู้ทางชีววิทยาระดับโมเลกุล และมีความพยายามพัฒนาวัคซีนโดยการสังเคระห์แอนติเจนในการผลิตซับยูนิตวัคซีน (subunit vaccine) อีกด้วย

คำว่า "วัคซีน" (vaccine) ได้มาจากครั้งที่เอ็ดวาร์ดให้เชื้อ cowpox แก่มนุษย์ โดยคำว่า variolæ vaccinæ มาจากคำว่า vaccīn-us หรือ vacca ซึ่งแปลว่า cow หรือวัวซึ่งมีความสัมพันธ์กับเชื้อ cowpox

ที่มาของข้อมูล :: http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%84%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%99



ตอบ  2
คำอธิบาย :: การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส (meiosis) เป็น การแบ่งเซลล์เพศ (sex call) 
ในสัตว์จะพบการแบ่งเซลล์
แบบไมโอซิสในรังไข่ และอัณฑะ ในพืชพบในเรณูหรือรังไข่เพื่อสร้างเซลล์สืบพันธ์

ถึงแม้ใช้อวัยวะที่แตกต่างกันแต่กระบวนการนั้นยังมีรูปแบบที่เหมือนกัน กล่าวคือ เซลล์ตั้งต้นจะเรียกว่าแกมีโทโกเนียม (gametogonium) จะแบ่งตัวแบบไมโทซิสเข้าสู่ช่วงแกมีโทไซต์ระยะแรก (primary gametocyte) และแบ่งตัวแบบไมโอซิสเข้าสู่แกมีโทไซต์ระยะที่สอง (secondary gametocyte) แล้วแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสอีกครั้งจนได้แกมีทิด (gametid) จำนวน 4 เซลล์ต่อเซลล์แม่ 1 เซลล์ สุดท้ายแกมีทิดจะเจริญไปเป็นสเปิร์มหรือไข่ ซึ่งเป็นแกมีต (gamete) ในขั้นตอนสุดท้าย


ที่มาของข้อมูล :: http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science03/32/2/genetic/content/meiosis%2002.html



ตอบ  2
คำอธิบายข้อมูล :: การสังเคราะห์โปรตีนที่ไรโบโซม
       ตัวที่กำหนดชนิดของกรดอะมิโนและการเรียงลำดับของกรดอะมิโน คือ เบสของ mRNA ที่เป็นรหัสพันธุกรรม คือ ลำดับของเบส 3โมเลกุล ใน mRNA ที่เป็นตัวกำหนดชนิดของกรดอะมิโนและการเรียงลำดับของกรดอะมิโน มีอยู่ 61 รหัส
       สิ่งที่ต้องใช้ในกระบวนการสังเคราะห์โปรตีน ได้แก่ DNA mRNA tRNA ไรโบโซมกรดอะมิโน เอนไซม์ กระบวนการสังเคราะห์โปรตีนมี 2 ขั้นตอน โดยมีหลักสำคัญดังนี้
       1. กระบวนการถอดรหัส หรือทรานสคริปชัน (transcription) เป็นกระบวนการที่ DNAถ่ายทอดข้อมูล ทางพันธุกรรมให้ mRNA จะนำรหัสการสังเคราะห์โปรตีนไปยังไซโทพลาซึม โดยไรโบโซมหน่วยย่อยขนาดเล็กมาจับกับ mRNA
       2. กระบวนการแปลรหัส หรือทรานสเลชัน (translation) เป็นกระบวนการที่ tRNAนำกรดอะมิโนชนิดที่ตรงกับโคดอนของ mRNA ตามตารางที่ 17.5 รหัสพันธุกรรม เช่น tRNAที่มีแอนติโคดอน CCA จะนำกรดอะมิโนชนิดไกลซีน (Gly) มายังไรโบโซมตรงที่มีโคดอน GGU ของmRNA โดยนำมาเรียงต่อกันบนไรโบโซมตามรหัสพันธุกรรมของ mRN


ที่มาของข้อมูล :: http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=thepsathit&month=24-09-2010&group=1&gblog=6



 ตอบ 3
คำอธิบายข้อมูล :: โรคทางพันธุกรรมแบ่งออกเป็น 2 แบบคือ

1. ถ่ายทอดบน Autosome แบ่งออกเป็น

ลักษณะด้อยได้แก่ นิ้วเกิน ท้าวแสนปม โรรคสังข์ทอง

ลักษณะด้อยได้แก่ ธาลัสซีเมีย ผิวเผือก เลือดกรุ๊ป 0 เม็ดเลือดแดงเป็นรูปเคียว

2.ลักษณะที่ถ่ายทอดบน Sexchromosome คือ

-ยีนส์ X ลักษณะเด่นคือนิ้วก้ามปู

ลักษณะด้อยคือฮีโมฟีเลีย แขนขาลีบ ตาบอดสี

-ยีนส์ Y คือขนที่หู


ที่มาของข้อมูล ::  http://www.vcharkarn.com/vcafe/22179



 ตอบ 3
คำอธิบายข้อมูล ::  ยีน คือ หน่วยพันธุกรรมที่กำหนดลักษณะต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต พืช สัตว์ มนุษย์ เช่น ในมนุษย์กำหนดสี และลักษณะของ ผิว ตา และผมความสูง ความฉลาด หมู่เลือด ชนิดของฮีโมโกลบิน รวมทั้งโรคบางอย่าง เป็นต้น ยีนที่ควบคุมกำหนดลักษณะต่างๆ ในร่างกายจะเป็นคู่ ข้างหนึ่งได้รับถ่ายทอดมาจากพ่อ อีกข้างหนึ่งได้รับมาจากแม่ สำหรับผู้มียีนธาลัสซีเมีย(Thalassemia) มีได้สองแบบคือ





  1. เป็นพาหะ คือ ผู้ที่มียีน หรือกรรมพันธุ์ของโรคธาลัสซีเมีย(Thalassemia) พวกหนึ่งเพียงข้างเดียวเรียกว่า มียีนธาลัสซีเมียแฝงอยู่ จะมีสุขภาพดีปกติ ต้องตรวจเลือดโดย วิธีพิเศษ จึงจะบอกได้ เรียกว่า เป็นพาหะ เพราะสามารถ่ายทอดยีนผิดปกติไปให้ลูกก็ได้ พาหะอาจให้ยีนข้างที่ปกติ หรือข้างที่ผิดปกติให้ลูกก็ได้
  2. เป็นโรค คือ ผู้ที่รับยีนผิดปกติ หรือกรรมพันธุ์ของโรคธาลัสซี เมียพวกเดียวกันมาจากทั้งพ่อและแม่ ผู้ป่วยมียีนผิดปกติทั้งสองข้าง และถ่ายทอดความผิดปกติข้างใดข้างหนึ่งต่อไป ให้ลูกแต่ละคนด้วย

ที่มาของข้อมูล :: http://www.thaibiotech.info/what-is-gene.php



ตอบ  1
คำอธิบายข้อมูล :: โครโมโซมเพศ sex chromosomes
     โครโมโซมของคน 23 คู่นั้น เป็น ออโตโซม 22คู่ อีก1คู่เป็น โครโมโซมเพศ 

  • ในหญิงจะเป็นแบบ XX
  • ในชายจะเป็นแบบ XY
โครโมโซม Y มีขนาดเล็กมียีนอยู่เล็กน้อย ได้แก่ ยีนที่ควบคุมขนบนใบหูก็อยู่บนโครโมโซม Y ดังนั้นลักษณะการมีขนบนหูจะถูกถ่ายทอดโดยตรง จากพ่อ ไปยัง ลูกชาย สืบต่อไปยัง หลานชาย และ สืบต่อไปเรื่อยๆในทายาทที่เป็นชาย ดังนั้น การมีขนที่หูจึงไม่ปรากฎในลูกสาวหรือ หลานสาว 
เมื่อเทียบกับ ออโตโซมแล้ว โครโมโซมYคือยีนเด่น(ทำให้มีเพศเป็นชาย) ส่วน โครโมโซมX คือยีนด้อย ต่างกันที่ว่าการจับคู่แบบ YY (เด่นพันธุ์แท้) ไม่มีทางเกิดขึ้นได้เลย เนื่องจากคนที่เป็นชายกับคนที่เป็นชายไม่สามารถ ปฎิสนธิ ให้กำเนิดชีวิตใหม่ได้ 
มีลักษณะทางพันธุกรรมบางอย่างที่ อยู่บนโครโมโซม X ได้แก่ ตาบอดสี เลือดใหลไม่หยุด(haemophilia) หัวล้าน ( รวมทั้ง ความเป็นเกย์ ด้วยซึ่งอยู่ในตำแหน่งที่ q28 ของ โครโมโซม X) 
ผู้ชายมี โครโมโซม X เพียงแท่งเดียว ส่วนอีกแท่งเป็น โครโมโซม Y ดังนั้นแม้ได้รับยีนด้อยที่ผิดปกติติดมากับ โครโมโซม X เพียงตัวเดียว ก็สามารถแสดงลักษณะทางพันธุกรรมนั้นออกมาได้ ส่วนผู้หญิงมี โครโมโซม X อยู่ 2 แท่ง ถ้าได้รับยีนด้อยที่ผิดปกติติดมากับ โครโมโซม X 1 แท่ง ก็จะยังไม่แสดง อาการของโรคพันธุกรรมให้ปรากฏ ทั้งนี้เพราะยีนปกติที่เหลืออีกตัวจะข่มลักษณะด้อยเอาไว้ ดังนั้นเราจะพบอาการหัวล้าน, ตาบอดสี ในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง 


ที่มาของข้อมูล :: http://www.snr.ac.th/elearning/siriporn/sec01p03.html



 ตอบ 1
คำอธิบายข้อมูล :: การพบโรคนี้ในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง และมักเป็นกับแบบ แดง-เขียวแทบทั้งหมด เนื่องจากว่ายีน ที่ควบคุมการสร้างรงควัตถุรับสีชนิดสีแดง และสีเขียวนั้น (red-pigment gene, green-pigment gene) อยู่บนโครโมโซม X เมื่อยีนนี้ขาดตกบกพร่องไปในคนใดคนหนึ่ง ก็จะทำให้คนนั้นสามารถรับรู้ สีเหล่านั้นได้ลดลงกว่าคนปกติแน่นอนว่าผู้หญิงมีโอกาสเป็นน้อยกว่าเนื่องจากในผู้หญิงมีโครโมโซม X ถึงสองตัว ถ้าเพียงแต่ X ตัวใดตัวหนึ่งมียีนเหล่านี้อยู่ ก็สามารถรับรู้สีได้แล้ว ในขณะที่ผู้ชาย มีโครโมโซม X เพียงตัวเดียว อีกตัวเป็น Y ซึ่งไม่ได้มีแพคเกจบรรจุยีนนี้แถมมาด้วย ;) ก็จะแสดง อาการได้เมื่อ X ตัวเดียวเท่าที่มีอยู่นั้นบกพร่องไป

อุปกรณ์ที่ใช้ทดสอบร่างกาย 1 ตาบอดสี




ตอบ 3
คำอธิบายข้อมูล ::  ลักษณะของยีนส์ ในกรุ๊ปเลือดต่างๆ (โดยยีนส์นั้นเป็นตัวกำหนดให้ร่างกายสร้าง Antigen นั้นๆบนผิวเม็ดเลือดแดง)
    Group A    = มียีนส์ AO หรือ AA
   Group B    = มียีนส์ BO หรือ BB
   Group AB  = มียีนส์AB
   Group O    = มียีนส์ OO



คนหมู่เลือด A +A     = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด A ,O

คนหมู่เลือด B+B      = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด
คนหมู่เลือด AB+AB    = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด A ,AB ,B (ได้ทุกกรุ๊ป ยกเว้น O)

คนหมู่เลือด O+O      = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด O เท่านั้น

คนหมู่เลือด A+B      = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด เป็นได้ทุกกรุ๊ป

คนหมู่เลือด A+AB     = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด A ,AB ,B(ได้ทุกกรุ๊ป ยกเว้น O)
คนหมู่เลือด AB+O     = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด ได้ A หรือ B 
คนหมู่เลือด A+O      = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด A หรือ O
คนหมู่เลือด B+O      = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด B หรือ O

คนหมู่เลือด A+B      = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด A.,B,AB,O



คนหมู่เลือด B+AB     = มีโอกาสได้ลูกเป็น หมู่เลือด A ,AB ,B(ได้ทุกกรุ๊ป ยกเว้น O)

4 ความคิดเห็น:

  1. 200 คะแนน เต็มคะ
    -มีคำอธิบาย
    -มีรูปภาพประกอบ
    -สวยงาม
    -จัดเรียงเรียบร้อย

    ตอบลบ
  2. มีคำอธิบาย

    มีรูปภาพประกอบ

    สีสันสวยงาม

    ให้คะเเนน 200 คะเเนนเต็ม จร้า

    ตอบลบ
  3. เรียบร้อยดีค่ะ 195 คะแนน

    ตอบลบ